ความรักที่มากล้น อยากให้ทุกสิ่งที่ลูกต้องการ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็ก ฮ่องเต้ซินโดรม มีสาเหตุหลักมาจาก "การเลี้ยงดูของผู้ปกครอง"
Love Bombing คือ พฤติกรรมของคนที่เข้ามาทำทุกอย่างให้เราประทับใจ เช่น นัวเนียพร่ำเพ้อบอกรักล้นใจ (Over-Communication of Love)
ชีวิตรักของหลายคู่ต้องล้มเหลวและพังยับเยิน เพราะไม่มีใครอยากเป็น “คู่กรรม” อยู่กับคนที่มีอาการ “พิษรัก … แรงหึง (เป็นบ้า)”
ในโลกยุคดิจิทัล … ไม่มีใครที่ไม่มีโทรศัพท์มือถือ จนโทรศัพท์มือถือกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตหรือเป็นอวัยวะที่ 33 ของชีวิตโดยไม่รู้ตัว
โรคกลัวการอยู่คนเดียว (Monophobia, Autophobia, Isolophobia, Eremophobia) หรือเป็นกลุ่มอาการ Fear of Being Alone ไม่ใช่แค่อาการเหงา แต่เป็นอาการกลัวที่ไม่กล้าออกไปไหนคนเดียว รู้สึกไม่มั่นใจ ไม่ปลอดภัย กลัวที่สาธารณะ กลัวการเข้าสังคม
โรคกามวิปริต (Sexual Perversion) คือ คนที่มีประสบการณ์ความตื่นตัวทางเพศในระดับสูงต่อวัตถุ สถานการณ์ หรือบุคคล ซึ่ง BDSM เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมทางเพศที่มีลักษณะเฉพาะคนและเฉพาะกลุ่ม
Stalker หรือ คนที่สะกดรอยตามบุคคลอื่นหรือเหยื่อถือเป็นความผิดปกติทางจิต จะมีการสะกดรอยตามไปยังสถานที่ต่างๆ รวมถึงการสอดส่องหรือการสร้างปฏิสัมพันธ์ตามช่องทางต่างๆ
บุคลิกภาพผิดปกติแบบต่อต้านสังคม (Psychopaths) การรักษาผู้ป่วยให้ได้ผลดีจำเป็นจะต้องรักษาคนในครอบครัวที่เจ็บป่วยหรือมีบุคลิกภาพผิดปกติแบบต่อต้านสังคมร่วมด้วย ก่อนที่จะส่งผลเสียกระทบในระยะยาวต่อคนอื่นในครอบครัว
ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน หรือการปฏิเสธการไปโรงเรียน (School Refusal) คือเด็กและวัยรุ่นจะแสดงพฤติกรรมต่อต้านไม่ยอมไปโรงเรียนให้เห็นอย่างเปิดเผย
“โจรปล้นบ้าน 10 ครั้งยังไม่เท่าไฟไหม้ครั้งเดียว แต่ไฟไหม้ 10 ครั้งยังไม่เท่าคนในบ้านติดการพนัน”
กว่าจะเรียนจบมาก็ไม่ง่าย จบมาแล้วยังต้องมาดิ้นรนหางานทำอีก แต่สิ่งที่ยากยิ่งกว่าคือทำอย่างไรที่จะสามารถทำงานอย่างมีความสุขและอยู่รอดปลอดภัย
ผู้ป่วยที่เป็นโรคไบโพล่าร์ (Bipolar Disorder) บางช่วงจะมีอาการเปลี่ยนแปลง เช่น มีอารมณ์เพิ่มมากขึ้น อารมณ์ดีเกินเหตุ หรือโกรธโมโหรุนแรง
ความกลัว เป็นอารมณ์พื้นฐานช่วยให้สิ่งมีชีวิตอยู่รอดปลอดภัยจากอันตราย โดยมีปฏิกิริยาตามมา คือ เตรียมต่อสู้หรือหลบหนี (Fight or Flight)
Munchausen syndrome by proxy (MSBP) คือ พฤติกรรมที่บุคคลหนึ่งได้สร้างเรื่องราวให้เกินจริง
ผู้ป่วยบางคนมีอาการกลัวหรือรู้สึกอึดอัดและมีอาการทางกายร่วมด้วยหลายๆ อย่างเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรง อาการทางกาย
การนอนหลับอย่างมีคุณภาพ จะส่งผลดีต่อสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ ทำให้รู้สึกสดชื่น อารมณ์ปกติ สมาธิและความจำดี
ในปัจจุบัน เรามักได้ยินข่าวจากสื่อต่างๆ เรื่องคนคิดสั้นและทำร้ายตนเอง บางรายถึงกับเสียชีวิต
มีความสุข ยิ้มหัวเราะร่าให้กับคนทั้งโลก แต่ต้องมาร้องไห้ให้กับตัวเอง น้ำตารินตกในเศร้าใจเพียงลำพัง ที่เรียกว่า Smiling Depression
เคยไหม ... ที่ไม่อยากตื่นหรือถ้าตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกหมดแรง ไม่อยากลุกขึ้นไปทำงาน ???
ปัจจุบันหลายคนหันมาสนใจทานอาหารเพื่อสุขภาพ (อาหารคลีน) มีวินัยและใส่ใจในการเลือกทานกันมากขึ้น
ในบางครั้งความเศร้าอาจไม่ได้ถูกแสดงออกให้ใครเห็นโดยตรงแบบนั้นเสมอไป มีหลายคนเลือกที่จะปกปิดความรู้สึกหดหู่เหล่านั้นด้วยการยิ้มและหัวเราะเพื่อให้ตัวเองได้สัมผัสกับความสุขเหมือนคนอื่นบ้าง
ยังมีอีกหลายคนที่ไม่รู้ว่าตัวเองหรือคนใกล้ตัวมีภาวะ "หน้ากาก ... ซ่อนความเศร้า" (Masked Depression) หรือ "ภาวะไร้สุข" เป็นภาวะ "ซึมเศร้าแต่ไม่เศร้า"
การที่เด็กเล่นเกมส์ไม่ใช่เรื่องผิด เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ที่ดูหนังดูซีรีย์ แต่ถ้าการเล่นเกมส์นั้นเกิดการเสพติดหมกมุ่นจนส่งผลเสียกระทบต่อสุขภาพ
พ่อและแม่ คือ “วัคซีนใจ” ที่ช่วยสร้าง “ภูมิคุ้มกันโลก” ที่ดีที่สุด ช่วยให้ลูกมีจิตใจที่เข้มแข็งและมั่นคง ช่วยให้ลูกสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขทุกวัน
เด็กติดเกมส์ “เด็กไม่ใช่ต้นเหตุแต่เป็นผลลัพธ์ของปัญหา” ซึ่งมีปัจจัยต่างๆ ผสมผสานกัน
ในปัจจุบัน “อินเทอร์เน็ต” (Internet) หรือ โลกเสมือนจริง เข้ามามีบทบาทที่สำคัญในการดำเนินชีวิตมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาข้อมูลต่างๆ การติดต่อสื่อสาร หรือจะเป็นการอำนวยความสะดวกสบายในด้านต่างๆ